PLC MELSEC-F series
PLC กับการควบคุมแบบซีเควนซ์
เนื้อหาของหนังสือ PLC กับการควบคุมแบบซีเควนซ์จะกล่าวถึงPLC MELSEC FX series ซึ่งเป็น PLC แบบcompact ของ Mitsubishi electric PLC MELSEC ในปัจจุบันคือ PLC ยุคที่ 3 ซึ่งมีความแตกต่างเป็นอย่างมากกับ PLC เมื่อหลายปีก่อน PLC ยุคที่ 3 มีประสิทธิภาพสูงมาก ใช้พลังงานน้อยลง มีขนาดเล็กลง มีความเร็วในการประมวลผลสูง และมีความสามารถในการใช้งานได้หลากหลาย การเปลี่ยนแปลงประสิทธิภาพนี้เป็นไปตามเทคโนโลยีที่ก้าวหน้ามากขึ้นเพื่อให้การใช้ทรัพยากรมีประสิทธิภาพมากที่สุด
ในการพิมพ์ครั้งที่สามนี้ เนื้อหาถูกปรับปรุงให้ทันสมัยมากขึ้นกว่าเดิม โดยการเพิ่มจำนวนหน้า อธิบายการใช้คำสั่งต่างๆอย่างละเอียด ใช้รูปภาพประกอบที่เข้าใจง่าย เพิ่มตัวอย่างการเขียนโปรแกรม การประยุกต์ใช้งานโปรแกรม รวมทั้งอธิบายการทำงานของ PLC อย่างละเอียด เช่นพื้นฐานการทำงาน การประมวลผล อธิบายข้อมูลจำเพาะของ PLC แต่ละรุ่น และก็มีรายละเอียดทางด้านเทคนิคต่างๆ ซึ่งจะทำให้ผู้ใช้งานสามารถใช้เป็นคู่มืออ้างอิงได้อย่างสะดวก นอกจากนั้นก็เพิ่มเนื้อหาเกี่ยวกับอุปกรณ์ต่างๆที่ใช้งานกับ PLC เช่นโมดูลขยาย อแดปเตอร์ขยาย อแดปเตอร์บอร์ด เป็นต้น
สารบัญ
บทที่ 1 ฮาร์ดแวร์ PLC
1.1 ความหมายของ PLC
1.2 หลักการทำงานเบื้องต้นของPLC
1.3 PLC MELSEC
1.4 Input และ output
1.5 Power supply terminal
1.6 หลอดไฟแสดงสถานะต่างๆของPLC
1.7 อินพุทเทอร์มินอล (Input terminal)
1.8 เอาท์พุทเทอร์มินอล (Output terminal)
1.9 ส่วนประกอบของ CPU module FX3UC, FX3GC
1.10 การต่อวงจรอินพุทและเอาท์พุทของ PLC FX3UC, FX3GC
1.11 ส่วนประกอบของ CPU module FX5U, FX5UC
1.12 Expansion module FX series (โมดูลต่อขยาย)
1.13 Expansion module FX5 (โมดูลต่อขยาย FX5)
1.14 การใช้ไฟของPLC
1.15 การเรียงตำแหน่ง Input Output ของระบบ PLC
1.16 Expansion board (บอร์ดขยาย)
1.17 Expansion adapter (ตัวแปลงขยาย)
1.18 Expansion board และ Expansion adapter FX5
บทที่ 2 คำสั่งพื้นฐานและอุปกรณ์
2.1 ซอฟต์แวร์ (software)และโปรแกรม (program)
2.2 ส่วนประกอบของ sequence program
2.3 คำสั่งอินพุท(input instruction)/ หน้าสัมผัส
2.4 Output instructions
2.5 Sequence programming และList programming
2.6 รีเลย์ช่วยแบบทั่วไปและแบบจำค่าได้
2.7 การทำงานของ PLC
2.8 END instruction
2.9 NOP instruction
2.10 คำสั่ง WDT, WDTP (Watchdog timer refresh)
2.11 คำสั่ง INV (invert the result of operations)
2.12 คำสั่ง MC, MCR
2.13 คำสั่ง SET , RST
2.14 คำสั่ง PLS , PLF
2.15 บิต ดิจิต ไบต์ และ เวิร์ด
2.16 Data register และ File register
2.17 Extension registers (R)/ Extension file registers (ER)
2.18 Index registers (V,Z)
2.19 โครงสร้างหน่วยความจำ
2.20 ไทม์เมอร์ (T)
2.21 เคาน์เตอร์ (C)
2.22 เคาน์เตอร์ความเร็วสูง (High speed counter)
บทที่ 3 คำสั่งประยุกต์
3.1 คำสั่ง SRET (Subroutine Return)
3.2 คำสั่ง CJ , CJP
3.3 คำสั่ง FEND (Main Routine Program End)
3.4 คำสั่ง CALL, CALLP
3.5 Input interrupt (อินพุทแทรก)
3.6 คำสั่ง EI (Enable Interrupt )
3.7 คำสั่ง IRET (Interrupt Return)
3.8 คำสั่ง DI (Disable Interrupt )
3.9 Timer interrupt (ไทม์เมอร์แทรก)
3.10 Counter interrupt (เคาน์เตอร์แทรก)
3.11 Pulse catch function (M8170 to M8177)
3.12 Pulse width/pulse period measurement function (M875 to M8079, D8074 to D8097)
3.13 คำสั่ง DHSCS , High-Speed Counter Set
3.14 คำสั่ง ZRST , ZRSTP
3.15 คำสั่ง ALT , ALTP
3.16 คำสั่ง INC , INCP , DINC , DINCP
3.17 คำสั่ง DEC , DECP , DDEC , DDECP
3.18 คำสั่ง MOV , MOVP, DMOV , DMOVP
3.19 คำสั่ง BMOV , BMOVP
3.20 คำสั่ง FMOV , FMOVP , DFMOV , DFMOVP
3.21 รหัสแอสกี ( ASCII CODE)
3.22 คำสั่ง ASCI , ASCIP
3.23 คำสั่ง HEX , HEXP
3.24 คำสั่ง SMOV , SMOVP (Shift Move)
3.25 คำสั่ง CML , CMLP, DCML , DCMLP (Complement)
3.26 คำสั่ง DECO , DECOP (Decode)
3.27 คำสั่ง ENCO , ENCOP (Encode)
3.28 คำสั่ง XCH , XCHP , DXCH , DXCHP
3.29 คำสั่ง BIN, DBIN, BINP, DBINP (Conversion to binary)
3.30 คำสั่ง BCD ,DBCD , BCDP, DBCDP
3.31 คำสั่ง ADD, ADDP, DADD, DADDP (BIN 16bit & 32bit addition)
3.32 คำสั่ง SUB , SUBP , DSUB , DSUBP
3.33 คำสั่ง MUL , MULP , DMUL , DMULP
3.34 คำสั่ง DIV , DIVP , DDIV , DDIVP
3.35 คำสั่งเปรียบเทียบข้อมูล (Data comparison)
3.36 คำสั่ง BON , BONP , DBON , DBONP
3.37 คำสั่ง NEG , NEGP , DNEG , DNEGP
3.38 คำสั่ง PLSY , DPLSY
3.39 คำสั่ง PWM
3.40 คำสั่ง SUM , SUMP , DSUM , DSUMP
3.41 คำสั่ง FORM , FORMP , DFORM , DFORMP
3.42 คำสั่ง TO , TOP , DTO , DTOP
3.43 คำสั่ง RS (Serial Communication)
3.44 คำสั่ง RS2 (Serial Communication 2)
บทที่ 4 Analog Control
4.1 Analog expansion module
4.2 FX3U-4AD , FX3UC-4AD (4 channel analog input)
4.3 FX2N-4AD (4 channel analog input)
4.4 Analog input block FX2N-2AD
4.5 Analog output block FX2N-2DA
4.6 Analog output block FX3U-4DA
4.7 Analog output block FX2N-4DA
4.8 Built-in analog inputs (FX3S)
4.9 Analog input expansion board (FX3G-2AD-BD)
4.10 Analog input expansion adapter (FX3U-4AD-ADP)
4.11 Analog output expansion adapter (FX3U-4DA-ADP)
4.12 Analog output expansion board (FX3G-1DA-BD)
บทที่ 5 FX communication
5.1 มาตรฐานการส่งผ่าน (Transmission standard)
5.2 PLC FX series Communication port channel
5.3 Parallel link
5.4 N : N network
5.5 MODBUS Communication (RTU or ASCII protocol )
5.6 คำสั่ง ADPRW (MODBUS Read/Write instruction)
5.7 Computer Link (Dedicated protocol )
5.8 Inverter communication
5.9 Remote maintenance
5.10 Programming communication
5.11 การเลือกใช้สายโหลดโปรแกรม
5.12 Network
บทที่ 6 การใช้ GX works2
6.1 การเช็ค port ของสายโหลด
6.2 การโหลดโปรแกรมจาก PLC
6.3 การบันทึกโปรแกรม (save program)
6.4 การเขียนวงจร ladder โดยใช้ GX works2
6.5 การเช็คการ ON OFF ของรีเลย์อินพุท
6.6 การตรวจสอบอุปกรณ์ที่ถูกใช้และยังไม่ใช้
6.7 การ clear หน่วยความจำ PLC
6.8 การแก้ไขโปรแกรมแบบ online
6.9 การค้นหาอุปกรณ์ในวงจร
6.10 การเช็คความผิดปกติของโปรแกรม
6.11 PLC Diagnostic
6.12 การใช้งาน Modify Value
6.13 การเขียน Comment
6.14 การจำลองการทำงานของวงจร ladder
บทที่ 7 การเขียนวงจร SFC
7.1 การทำงานของวงจร SFC
7.2 วงจรภายใน (Internal circuit )
7.3 ตัวอย่างการเขียนวงจร SFC
7.4 ตัวอย่างการเขียนวงจร SFC โดยใช้ GX works 2